วิวภายนอกกับภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ
View-out and Dementia in Elderly
นวลวรรณ ทวยเจริญ
อาจารย์ประจาภาควิชานวัตกรรมอาคาร คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วนารัตน์ กรอิสรานุกูล
อาจารย์ประจาภาควิชาเทคโนโลยีชนบท คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
นงนาถ จวนแจ้ง
อาจารย์ประจาสาขาเวชศาสตร์ครอบครัว โรงพยาบาลมหาราช นครราชสีมา
สมปอง เทียนวันเพ็ญ
พยาบาลวิชาชีพชานาญการ โรงพยาบาลบ้านโป่ง
ชติพัทธ์ ณะมณี
นิสิตระดับปริญญาโท ภาควิชานวัตกรรมอาคาร คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
บทคัดย่อ
การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของวิวภายนอกต่อภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุชาวไทยในโรงพยาบาล โดยการศึกษาครั้งนี้ศึกษาอิทธิพลของการมีวิวภายนอกห้องที่ประกอบด้วย 2 รูปแบบ ซึ่งได้แก่ การไม่มีหน้าต่าง/วิวภายนอกห้อง และการมีวิวภายนอกห้องเป็นวิวธรรมชาติ โดยศึกษาในห้องพักแบบเดี่ยวและห้องพักแบบรวมในโรงพยาบาล การทดลองได้ทำในห้องทดลอง ณ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โดยใช้การจำลองแบบ Virtual Reality (VR) และใช้เครื่องมือในการวัดภาวะสมองเสื่อมซึ่งได้แก่ แบบการทดสอบการค้นหาเส้นทาง และนำมาวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ Paired t-test ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่าในห้องพักแบบเดี่ยวและแบบรวมในโรงพยาบาลที่มีวิวภายนอกที่เป็นวิวธรรมชาติก่อให้เกิดการค้นหาเส้นทางต่อผู้สูงอายุภาวะสมองเสื่อมมากกว่าห้องพักที่ไม่มีวิวภายนอกในห้องพักโรงพยาบาล
คำสำคัญ: แสงธรรมชาติ, วิวภายนอก, ภาวะสมองเสื่อม, ผู้สูงอายุ
Abstract
A study was aimed to explore the effect of view-out on dementia in Thai elderly in hospital. There were two types of view-out to be investigated their effects. The first type was no window/view-out and the second was a natural view. The study was explored in both single ward and shared word in hospital. The experiment was carried out in a laboratory room in Faculty of Architecture, Kasetsart University, using Virtual Reality (VR) technique. Subjects evaluated VR environment using dementia measurement, which were wayfinding questionnaire. Then, data of this study was analysed using a Paired t-test. The results suggested that both single room and shared room in hospital with natural view could create better wayfinding performance of Thai elderly than those without.
Keywords: Daylight, View-out, Dementia, Elderly
References
กระทรวงสาธารณะสุข. (2554). ความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสาหรับญาติและผู้ดูแล. ชลบุรี: ศูนย์สมเด็จพระสังฆราชเพื่อผู้สูงอายุ.
Arthur, J.E., Hancock, P. & Chrysler, S. (1997). The perception of spatial layout in real and virtual worlds. Ergonomics. 40, 69-77.
Boyce, P.R. (2009). “The impact of light in building on human health”. International Conference on Sustainable Healthy Buildings. 2nd. Korea.
Hanford, N and Figueiro, M. (2013). Light Therapy and Alzheimer’s Disease and Related Dementia: Past, Present and Future. J Alzheimers Dis., 33(4), 913-922.
Hidayetoglu, L.M., Yildirim, K. & Akalin, A. (2012). The effects of color and light on indoor wayfinding and the evaluation of the perceived environment. Journal of Environmental Psychology , 32, 50-58.
Netten, A. (1989). The effect of design of residential homes in creating dependency among confused elderly residents: A study of elderly demented residents and their ability to find their way around homes for the elderly. International Journal of Geriatric Psychiatry ,
Noell-Waggoner, E. (2002). Light: an essential intervention for Alzheimer’s disease. Alzheimer’s Care Quarterly , 3(4), 343–352.
Ulrich, R. S. (1984). View through a window may influence recovery from surgery. Science, 224(47), 420 – 421.
Wohlwill, J. F & Altman, I. (1983).H uman Behavior and Environment .A dvances in Theory and Research (Volume 2). New York: Plenum New York.